ホーム
/ 健康に関する記事 / 病気と治療 /
REBOOT YOUR BOUNCE~完全に元気な自分の動きを取り戻そう~

前方進入法による人工股関節置換術(DAA)及び高周波の鎮痛で人工膝関節置換術(TKR)は一人一人の患者に最適な手術法を見つけ出すため、ナビゲーション・コンピューターと特別にデザインした人工関節技術により、最小侵襲手術及び新たな鎮痛治療法と組み合わせて患者の痛みを軽減し、最早で動きを取り戻す効果が期待できます。

 

股関節及び膝関節疾患の治療

タイでは2015年から最新の股関節置換術が開始され、大きな成功を収めています。この人工股関節置換術を用いて500名以上の患者に手術を行い、全ての患者が最小の手術傷で痛みを軽減し、迅速に回復して手術当日から歩けるようになりました。また、52名の患者には再手術の必要な股関節の脱臼や合併症などが無く、同時に両側股関節置換手術に成功しました。更に、過去に人工股関節置換手術の後で不均一な脚の長さ、人工股関節のゆるみ、脱臼、骨折、感染などの問題を抱えた十数名の患者に股関節を、前方進入法による人工股関節置換術で修復することに成功しました。


Chat with Us


人工股関節置換術(DAA

アジア太平洋地域における前方進入法による人工股関節置換術は特別に開発されたJointPoint™と呼ばれるナビゲーション・コンピューター技術を用いて、手術中により正確な人工股関節の位置を特定し、患者の一人一人に適した人工関節の素材を選択し、手術の後で均一な脚の長さを保つことができます。この技術は、昔のナビゲーション・コンピューターや手術支援ロボットのように患者の骨に穴をあける必要がないため、患者の手術傷が最小になり、迅速に回復できます。

さらに、バンコク国際病院は、前方進入法による人工股関節置換術に特別に創られたActis® Total Hip Systemと呼ばれる最新の人工股関節を導入しました。この人工股関節は骨が密着し易いように表面を加工され、手術中に起こり得る合併症を軽減して手術後に人工股関節の沈下を防ぐカラー(Collar)が付き、手術の成功率向上を期待できます。

通常、人工股関節置換手術の傷が太もも前面の目立ち易い場所にあるが、新たな手術法によりBIKINI Incisionと呼ばれる低侵襲手術(Minimally Invasive Surgery:MIS)で股間に手術の傷を隠すことができます。このような手術法は手術の傷を、股間である下着のラインに完璧に隠せるため、短パンや水着を着用しても目立ちません。この人工股関節置換術は従来の手術法に対して、患者の痛みを軽減し、迅速に回復し、筋肉切除が無く手術当日から歩けるようになり、外科医がより適切に人工股関節を置換でき、人工股関節の脱臼率が低く、均一な脚の長さを保ち、手術の傷がよりきれいで小さくなり、股間に手術の傷を隠すことができ、同時に両側股関節置換手術ができるなどのメリットがあります。


See The Doctor’s Profile


การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมด้วยเทคนิคไม่ตัดกล้ามเนื้อ (DAA) และการเปลี่ยนข้อเข่าเทียมด้วยเทคนิคใหม่ ระงับปวด Radiofrequency โดยนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์นำวิถีและข้อเทียมรุ่นใหม่ที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ มาช่วยในการผ่าตัดเพื่อหาความเหมาะสมสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย ร่วมกับเทคนิคการผ่าตัดแบบทะนุถนอมเนื้อเยื่อไม่ให้บอบช้ำ และเทคนิคการระงับปวด ช่วยทำให้ผู้ป่วยเจ็บน้อยและฟื้นตัวไว ช่วยคืนการเคลื่อนไหว ให้ชีวิตฟิตเต็มที่ (Reboot Your Bounce) ดูแลรักษาโรคข้อสะโพกและข้อเข่า ในส่วนของการรักษาข้อสะโพกได้มีการริเริ่มนำเทคนิคการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมแนวใหม่แบบไม่ตัดกล้ามเนื้อมาใช้ในประเทศไทยตั้งแต่ปี 2015 ซึ่งประสบผลสำเร็จเป็นอย่างมาก โดยได้ทำการผ่าตัดผู้ป่วยเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมด้วยเทคนิคนี้ไปแล้วกว่า 500 ราย พบว่า ผู้ป่วยทุกรายสามารถฟื้นตัวได้ไว เดินได้ตั้งแต่วันที่ผ่าตัด มีแผลผ่าตัดขนาดเล็ก มีระดับความเจ็บปวดหลังผ่าตัดที่น้อยมากและประสบผลสำเร็จในการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม 2 ข้างพร้อมกันให้แก่ผู้ป่วยไปทั้งหมด 52 ราย ไม่พบว่ามีการหลุดของข้อสะโพกหรือผลแทรกซ้อนที่ต้องมีการผ่าตัดซ้ำแต่อย่างใด นอกจากนี้ยังประสบความสำเร็จในการนำเทคนิคการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมแนวใหม่แบบไม่ตัดกล้ามเนื้อมาใช้ในการผ่าตัดซ่อมแซมและแก้ไขข้อสะโพกเทียมที่เสียหาย สึกหรอจากการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมในอดีต (Revision) ให้แก่ผู้ป่วยอีกหลายสิบรายอีกด้วย ไม่ว่าจะเป็นการผ่าตัดแก้ไขข้อสะโพกเทียมสึกหรอ เสื่อมจากการใช้งาน ขายาวไม่เท่ากันหลังผ่าตัด ข้อสะโพกเทียมหลวม หลุด แตกหัก หรือติดเชื้อ เป็นต้น การผ่าตัดข้อสะโพกเทียม เทคโนโลยีในการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมแนวใหม่แบบไม่ตัดกล้ามเนื้อในเอเชียแปซิฟิก ศัลยแพทย์จะใช้เทคโนโลยีการผ่าตัดด้วยคอมพิวเตอร์นำวิถีรุ่นใหม่ เรียกว่า JointPoint™ ซึ่งออกแบบมาเพื่อใช้ในการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมแนวใหม่แบบไม่ตัดกล้ามเนื้อโดยเฉพาะ เพื่อช่วยระบุตำแหน่งของข้อสะโพกเทียมในขณะผ่าตัดให้ตรงตำแหน่งมากขึ้น เลือกขนาดและวัสดุของข้อเทียมให้เหมาะสมสำหรับแต่ละบุคคล และยังสามารถช่วยผ่าตัดให้ผู้ป่วยมีความยาวขาทั้งสองข้างให้เท่ากันหลังผ่าตัดอีกด้วย ซึ่งเทคโนโลยีตัวนี้ไม่จำเป็นต้องเจาะกระดูกของผู้ป่วยเหมือนระบบคอมพิวเตอร์นำวิถีหรือหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัดรุ่นอื่น ๆ ในอดีต ทำให้ผู้ป่วยมีการบาดเจ็บที่น้อยลงและฟื้นตัวได้ไวกว่าเดิม นอกจากนี้โรงพยาบาลกรุงเทพอินเตอร์เนชั่นแนลยังเป็นผู้ริเริ่มนำข้อสะโพกเทียมรุ่นใหม่ ที่เรียกว่า Actis® Total Hip System ที่ถูกออกแบบมาโดยเฉพาะสำหรับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมแนวใหม่แบบไม่ตัดกล้ามเนื้อมาใช้ ซึ่งตัวข้อเทียมจะมีผิวสัมผัสที่ทำให้กระดูกเข้าไปยึดติดกับข้อสะโพกเทียมได้ดีขึ้นกว่าเดิม มีจะงอย (Collar) ที่ป้องกันไม่ให้ข้อสะโพกเทียมจมหลังผ่าตัด และลดผลแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นในขณะผ่าตัดลงได้ ทำให้การผ่าตัดประสบผลสำเร็จเป็นอย่างดี เทคนิคการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมแนวใหม่แบบไม่ตัดกล้ามเนื้อ โดยปกติแล้วแนวแผลผ่าตัดจะอยู่บริเวณหน้าต้นขา ซึ่งอาจจะเห็นแผลได้ง่าย แต่ด้วยเทคนิคการลงแผลแบบใหม่ จะมีการซ่อนแผลผ่าตัดใต้ต่อขาหนีบหรือที่เรียกว่า BIKINI Incision ซึ่งเป็นการผ่าตัดแบบแผลเล็ก (Minimally Invasive Surgery: MIS) ที่สำคัญการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมแนวใหม่แบบไม่ตัดกล้ามเนื้อ ด้วยเทคนิคซ่อนแผลผ่าตัด แนบเนียน เพราะแผลผ่าตัดขนาดเล็กจะอยู่ด้านหน้าบริเวณขาหนีบ ซ่อนใต้แนวกางเกงใน ทำให้ไม่เห็นรอยแผลเมื่อใส่กางเกงขาสั้นหรือชุดว่ายน้ำ ซึ่งการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมด้วยเทคนิคนี้มีข้อดีกว่าการผ่าตัดแบบดั้งเดิม เช่น ผู้ป่วยมีอาการปวดลดลง ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวได้ไวขึ้น เดินได้ทันทีหลังการผ่าตัด เนื่องจากไม่มีการตัดกล้ามเนื้อ ศัลยแพทย์ผู้ผ่าตัดสามารถวางตำแหน่งข้อสะโพกเทียมได้ดีขึ้น อัตราการหลุดของข้อสะโพกเทียมต่ำมาก มีความยาวขาที่เท่ากันหลังผ่าตัด มีขนาดแผลที่เล็ก สวยงาม สามารถซ่อนแผลผ่าตัดใต้ขาหนีบ และยังสามารถทำการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมได้ทั้งสองข้างพร้อมกันอีกด้วย การเปลี่ยนข้อเข่าเทียม การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมด้วยเทคนิคระงับความปวดรูปแบบใหม่ โรงพยาบาลกรุงเทพอินเตอร์เนชั่นแนล ได้รับการรับรองมาตรฐานจากสถาบัน Joint Commission International (JCI) ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้ให้การรับรองมาตรฐานและคุณภาพของโปรแกรมการผ่าตัดข้อเข่าเทียม โดยผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมที่โรงพยาบาลกรุงเทพอินเตอร์เนชั่นแนลที่ผ่านมา มากกว่า 500 ราย ทุกรายสามารถเดินได้ภายใน 24 ชั่วโมงหลังการผ่าตัด ผู้ป่วยสามารถงอเข่าได้มากกว่า 90 องศาก่อนกลับบ้าน มีอัตราความพึงพอใจในการรักษาที่สูงมาก (99%) เพราะมีการใช้โปรแกรมการรักษาที่ออกแบบเฉพาะบุคคล (Customize Service) เพื่อตอบสนองคนไข้ที่มีสภาวะต่างกัน เริ่มตั้งแต่ก่อนผ่าตัด นำ Digital Template ช่วยวางแผนหาขนาดของข้อเข่าเทียมที่เหมาะสม รวมทั้งกระดูกที่จะถูกตัดออกว่าจะหนาบาง เล็กใหญ่ขนาดไหน และต้องเอียงทำมุมเท่าใด โดยเฉพาะกรณีที่มีความวิกลรูปผิดปกติมาก หรือกรณีที่เคยมีกระดูกหัก เคยผ่าตัดมาก่อน จะใช้เครื่องเอกซเรย์สองแกน Biplane Imaging (EOS) สแกนตั้งแต่กระดูกสันหลังจนถึงปลายเท้าเพื่อสร้างภาพ 3 มิติออกมาช่วยวางแผนก่อนการผ่าตัด มีการใช้เทคนิคระงับปวดระหว่างการผ่าตัดและช่วงที่อยู่โรงพยาบาล ซึ่งเป็นเทคนิคที่ริเริ่มนำมาใช้ในประเทศไทย เช่น การใช้จี้คลื่นวิทยุความถี่สูงที่เส้นประสาทรอบข้อเข่า (Radiofrequency Ablation) ทำให้ผู้ป่วยแทบจะไม่มีอาการปวดหลังผ่าตัดเลย จึงมีการฟื้นตัวที่รวดเร็วมาก อย่างไรก็ตามผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมไม่ใช่ทุกรายที่ต้องเข้ารับการผ่าตัด จะเน้นรักษาตามระยะของโรค ถ้ายังสามารถใช้เข่าในสภาวะเข่าเสื่อมที่ยังไม่รุนแรงได้จะแนะนำให้เปลี่ยนวิธีการใช้งาน เช่น ห้ามนั่งคุกเข่า หรือนั่งยอง ๆ และควรเลือกเล่นกีฬาที่มีการกระแทกของข้อเข่าน้อย เช่น ว่ายน้ำ เดินเร็ว ขี่จักรยาน เวลานั่งทำงานปรับที่นั่งให้สูงเพื่อให้เข่าได้เหยียดเต็มที่ หากต้องนาน ๆ ควรพักเข่าด้วยการเหยียดเข่าตรงในท่านั่งแล้วนับ 1 - 10 เพื่อให้กล้ามเนื้อหน้าขาแข็งแรงขึ้น ทำประมาณ 20 - 30 ครั้ง ต้องควบคุมน้ำหนัก ถ้าข้อเข่าเสื่อมที่ยังเป็นไม่มากสามารถรักษาด้วยการทานยาตามอาการ และการฉีดน้ำหล่อเลี้ยงข้อเทียมเพื่อช่วยลดการเสียดสีของข้อเข่า หรือฉีดยาสเตียรอยด์ในปริมาณที่จำกัดได้ แต่ถ้าการรักษาที่ว่ามาทั้งหมดไม่ได้ผลก็ต้องเข้ารับการผ่าตัด เทคนิคการระงับปวดแบบใหม่ ความเจ็บปวดหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม ถือเป็นหนึ่งในสิ่งที่คนไข้กังวล โรงพยาบาลกรุงเทพอินเตอร์เนชั่นแนลได้นำเทคนิคการระงับความเจ็บปวดหลากหลายชนิดเข้ามาใช้ในผู้ป่วยหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม ไม่ว่าจะเป็นการใช้ยาหลากหลายกลุ่มร่วมกัน มีการบริหารยาลดความเจ็บปวดโดยการบล็อกหลังตามทั่วไป ร่วมกับการให้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนที่จำเพาะเจาะจงกับหัวเข่า โดยการใส่สายเพื่อให้ยาชาในช่องแอดดั๊กเตอร์ที่บริเวณต้นขา เพื่อลดระดับความปวด โดยจะให้ยาชาเข้าไปที่เส้นประสาทที่เลี้ยงข้อเข่าและให้ยาชาต่อเนื่องแบบช้า ๆ ซึ่งการให้การระงับความรู้สึกวิธีนี้ ทำให้ผู้ป่วยไม่รู้สึกเจ็บปวด แต่กล้ามเนื้อยังทำงานได้ ทำให้ผู้ป่วยสามารถทำกายภาพบำบัดได้เร็วขึ้นอย่างมาก การทำกายภาพบำบัดที่ดีนี้เป็นจุดสำคัญมาก ๆ ที่จะทำให้การรักษาประสบความสำเร็จ โดยผู้ป่วยสามารถเดินได้ทันที 2 - 3 ชั่วโมงหลังผ่าตัด โดยที่ไม่มีอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อเหมือนการระงับปวดชนิดอื่น ๆ นอกจากนี้ในผู้ป่วยที่กลัวความเจ็บปวดหลังการผ่าตัดมาก ๆ เทคนิคการจี้ด้วยคลื่นวิทยุความถี่สูงที่เส้นประสาทรอบข้อเข่า (Radiofrequency Ablation) สามารถควบคุมความเจ็บปวดหลังการผ่าตัดได้ดีกว่าและนานกว่าเป็นระยะเวลายาวนานหลายเดือนจนถึงปี หลักการการรักษานี้ทำโดยการใช้คลื่นวิทยุความถี่สูงจี้ที่เส้นประสาทที่รับความรู้สึกเจ็บปวด ทำให้เกิดความร้อนที่เส้นประสาทจนหยุดการทำงานไม่สามารถส่งกระแสความรู้สึกไปยังสมองได้ การรักษาทำโดยการใส่เข็มชนิดพิเศษบริเวณรอบเข่า 3 จุด ร่วมกับ X - Ray และ Ultrasound นำทางเข็ม เพื่อความถูกต้องสูงสุด โดยการรักษาจะใช้เวลาประมาณ 30 นาที ซึ่งในวิธีการจี้คลื่นวิทยุแบบมาตรฐาน (Conventional Radiofrequency) จะเป็นการใช้คลื่นวิทยุความถี่สูงที่ให้พลังงานความร้อนอยู่ที่ 80 องศาเซลเซียส แต่ด้วยเทคโนโลยีในปัจจุบัน มีการพัฒนาให้คลื่นพลังงานมีอุณหภูมิลดลงด้วยระบบ Water - Cooled Technology โดยมีอุณหภูมิอยู่ที่ 60 องศาเซลเซียส มีผลให้ประสิทธิในการรักษาภาพสูงขึ้น ส่งผลให้ผู้ป่วยมีความเจ็บปวดหลังการผ่าตัดที่ลดน้อยลงมาก และฟื้นตัวได้ไวมากยิ่งขึ้น การจี้คลื่นวิทยุรอบหัวเข่าสามารถทำได้ในหลายกรณี ทั้งในผู้ป่วยที่มีข้อห้ามในการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าแต่มีความเจ็บปวดทรมานที่ีมีต้นเหตุมาจากข้อเข่า หรือผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บเรื้อรังใด ๆ ของข้อเข่าที่ไม่สามารถรักษาด้วยการผ่าตัดได้ การให้การดูแลความเจ็บปวดสำหรับการผ่าตัดข้อสะโพกปัจจุบันได้ผลดีมาก โดยเฉพาะการทำร่วมกับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมแนวใหม่แบบไม่ตัดกล้ามเนื้อ (DAA) การให้การระงับความรู้สึกแบบต่อเนื่องในช่อง Fascia Ilica ทำให้เส้นประสาทหลาย ๆ เส้นที่ไปเลี้ยงสะโพกไม่ทำงานระหว่างการให้ยา ช่วงหลังการผ่าตัดจน 2 - 3 วัน ผู้ป่วยจะสามารถทำกายภาพบำบัดและพักฟื้นได้อย่างเต็มที่โดยแทบจะไม่ต้องกังวลเรื่องความปวด ศูนย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลกรุงเทพอินเตอร์เนชั่นแนล พร้อมให้บริการ แบบ Total Joint Care ให้การดูแลรักษาแบบครบครัน ไม่ได้เน้นการผ่าตัดเปลี่ยนข้อแต่เพียงอย่างเดียว โดยมีนโยบายหลัก คือ การช่วยให้ผู้ป่วยกลับมาใช้ชีวิตปกติอย่างมีคุณภาพได้ Reboot Your Bounce ด้วยการผสมผสานวิธีการรักษาต่าง ๆ พร้อมด้วยประสบการณ์ทีมแพทย์ประจำและแพทย์ที่ปรึกษา มีความชำนาญในการรักษาโรคข้อเข่าและข้อสะโพกมาเป็นระยะเวลาหลายสิบปี สามารถให้การรักษาโรคที่มีความรุนแรง ความผิดรูป ความผิดปกติของข้อทุก ๆ รูปแบบ โดยมีจุดเด่นคือ สามารถแก้ไขปัญหาหรือภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นหลังจากการรักษาผ่าตัดข้อสะโพกหรือข้อเข่ามาแล้ว ประกอบกับทีมแพทย์สหสาขาวิชา พยาบาล เจ้าหน้าที่ กายภาพบำบัด (Multidisciplinary Care) ร่วมกันดูแลรักษาเพื่อให้ผู้ป่วยกลับไปมีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคและการดูแลรักษาแก่ผู้ป่วย ญาติ และแพทย์ ร่วมกันเลือกวิธีการรักษาที่ดีที่สุดสำหรับผู้ป่วย

人工膝関節置換術(TKR

新たな鎮痛治療法による人工膝関節置換術に関して、バンコク国際病院は、米国Joint Commission International (JCI)から国際的な基準や品質を満たす人工膝関節手術プログラムの認証を取得しました。バンコク国際病院で人工膝関節置換術の治療法を受けた患者は500名以上であり、全ての患者が手術後24時間以内で歩けるようになり、退院までに90度以上膝を曲げることができます。症状が異なる患者に合わせて個別にデザインされた治療プログラムで対応する事で、治療満足度が非常に高い(99%)です。

まずは手術の準備として、適切な膝関節のサイズを図りため、デジタルテンプレートを用いて切り取られる骨の寸法及び角度や、適切な膝関節のサイズをシミュレーションします。特に、変形性膝関節症の者、骨折の経験者や手術の経験者はBiplane Imaging (EOS)2X線スキャナーで脊椎から足まで投影し、3次元画像で手術を計画します。また、高周波アブレーション(Radiofrequency Ablation)などタイで始められる鎮痛治療法を、手術中及び入院中に適用することで患者は手術後の痛みが殆ど無く、迅速に回復ができます。

ただし、変形性膝関節症の患者全員が手術必要は無く、病期に応じた治療を中心に行います。軽度の変形性膝関節症の場合は、ひざまずいたりしゃがんだりする事を禁止し、水泳、早歩き、サイクリング等膝関節に負担が少ない運動や、座って仕事をする際は膝が十分に伸びるように椅子の高さを調整し、長い時間で座る必要がある場合は20~30回ほど10秒間で膝を伸ばして脛筋肉の筋トレ、又は体重管理などをお勧めします。変形性膝関節症が重症でない場合は、症状に応じて投薬で治療することや、人工膝関節への注射で摩擦を軽減すること、又は制限する量でステロイドを投与することができます。しかし、上記の全ての治療法で効果がない場合は、手術する必要があります。


See The Doctor’s Profile


新たな鎮痛治療法

人工膝関節置換手術後の痛みは患者さんの気になるところです。バンコク国際病院は人工膝関節置換手術後の患者に対して、多剤併用、硬膜外投与に加えてゆっくりと持続的に局所麻酔薬を投与する事で筋肉の動きを麻痺せずに鎮痛できる事など、様々な鎮痛治療法を適用しました。また、リハビリは治療を成功させるために、非常に常用なポイントです。これらの方法で患者は迅速にリハビリができ、手術後2~3時間で他の鎮痛方法のような筋力低下問題がなく、歩くことができるようになります。

また、手術後の痛みを極度に恐れる患者に対して、膝関節周囲に高周波アブレーションを適用することで手術後の痛みを数か月から数年にわたって抑えることができます。この治療法は高周波で末梢神経に熱を発生させて感知機能を停止させて脳に伝わらなくなります。治療は特殊な針を膝関節の3つの関節技に挿入し、X線と超音波を併用して最大限の精度で針を誘導する方法で30分ほど掛かります。標準な高周波治療法(従来の高周波治療法)は80の熱量を与える高周波を使用されるが、冷却水技術で60に温度を低下させることができました。そのため、より高い治療効果が得られ、患者に対して手術後の痛みを極限に軽減し、迅速に回復することができます。高周波アブレーションは、人工膝関節置換手術ができない膝関節の痛みに苦しんでいる患者や、手術で治療できない慢性的な膝の痛みのある患者に対して、様々な場合で適用できます。

現在、股関節手術における鎮痛治療は、特に最新の人工股関節置換術と組み合わせることで非常に効果的です。持続的に腸骨筋膜に麻酔を投与することで股関節に繋がる複数の神経を不活性化することができます。そのため、患者は手術後2~3日間で痛みの心配なくリハビリと休養ができます。


バンコク国際病院の股関節
・膝関節センターは、関節置換手術だけではなく、トータル・ジョイント・ケアのサービスを整え、提供する準備ができています。主な方針は様々な治療法で、何十年にわたって膝と股関節の問題を治療する専門知識を持ち、重度な疾患やあらゆるの関節機能障害を治療する経験が豊富な一般医師と相談医のチームを組み合わせることで、膝関節や股関節の手術後に発生する問題や合併症を対応できます。専門医、看護師、リハビリのスタッフのチームと協力して患者が良好な生活に戻るために治療し、病気と治療に関する知識を患者、家族、医師に与えて、より最適な治療法を共に選択することを特徴としています。


Chat with Us


References:

.

Dr. Phonthakorn Panichkul

Joint Reconstruction and Arthroplasty Surgeon, Hip and Knee Center, Bangkok International Hospital.


Dr. Sarit Hongvilai

Arthroplasty, Trauma and Orthopedic Surgery, Hip and Knee Center, Bangkok International Hospital.


Dr. Marvin Thepsoparn

Pain Intervention Specialist and Anesthesiologist, Bangkok Hospital.